<$BlogRSDUrl$>

วันจันทร์, เมษายน 12, 2547

HA 

HA กับงานวัณโรค
พันธ์ชัย รัตนสุวรรณ พ.บ., วท.ม., อ.ว.เวชศาสตร์ป้องกัน


@Topics
$HA: what, why and how?
$“คุณภาพ” ของการรักษาวัณโรค (การควบคุม)
$ระดมความคิดเห็นต่อร่าง HA ของงานวัณโรค

@Hospital Accreditation (HA)
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ.)
แนวทางการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล: บันได 3 ขั้น
ขั้นที่ 1 การทบทวน แก้ไขป้องกัน และการวางระบบบริหารความเสี่ยงขั้นต้น
ขั้นที่ 2 การวางระบบประกันคุณภาพและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ขั้นที่ 3 การปฏิบัติตามข้อกำหนดในมาตรฐาน HA อย่างครบถ้วน มีบูรณาการ และ มีวัฒนธรรมคุณภาพในองค์กร

@HA
$คือการกระตุ้นให้ทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กร
$มิได้เน้นการซ่อมสุขภาพอย่างเดียว แต่เน้นการสร้างสุขภาพ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม และการทำงานเชิงรุกเข้าไปในชุมชนด้วย
$หัวใจการทำงาน
-การเน้นผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง (Customer focus)
-การทำงานร่วมกันเป็นทีม
-การทบทวนประเมินตนเองในทุกระดับ ... เพื่อให้เกิดการปรับปรุงวิธีการทำงานอย่างต่อเนื่อง...

@การรับรองกับช่วงของการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ รพ.
ช่วง (phase) ในการพัฒนา => ลำดับขั้นในการรับรอง

ช่วงที่หนึ่ง การเตรียมการ =>บันไดขั้นที่ 1 การทบทวน แก้ไข ป้องกัน
ช่วงที่สอง การพัฒนาและเรียนรู้
ช่วงที่สาม (ระยะแรก) การดำเนินการในลักษณะการตั้งรับ ทบทวนปัญหาที่เกิดขึ้นและนำมาแก้ไข ป้องกัน
ช่วงที่สาม (ระยะหลัง) การวิเคราะห์กระบวนการทั้งหมดอย่างเป็นระบบ ประกันคุณภาพในส่วนที่ทำได้ดีแล้ว พัฒนาในส่วนที่เห็นโอกาส => บันไดขั้นที่ 2 การประกันคุณภาพและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ช่วงที่สี่ การบูรณาการและวางรากฐานเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง =>บันไดขั้นที่ 3 การปฏิบัติตามมาตรฐาน HA อย่างครบถ้วน

@HA กับงานวัณโรค
$ช่วยในการพัฒนางานวัณโรคของโรงพยาบาลให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน
$บทบาทของเรา: ให้ความช่วยเหลือ/คำแนะนำทางวิชาการด้าน “การกำหนดคุณภาพ” ของการดำเนินงานวัณโรคของโรงพยาบาล
$สิ่งที่ต้องทำ: การกำหนดคุณภาพ, ตัวชี้วัด และบันได 5 ขั้น (เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานและประเมินผล)

@บันได 5 ขั้นสู่ความสำเร็จของ HA
บันไดขั้นที่ 1 เริ่มตั้งทีม
บันไดขั้นที่ 2 มีกิจกรรมแต่มีการเปลี่ยนแปลงน้อย
บันไดขั้นที่ 3 มีการปรับปรุงปานกลาง
บันไดขั้นที่ 4 มีความก้าวหน้าอย่างชัดเจน
บันไดขั้นที่ 5 มีผลลัพธ์ที่ชัดเจนและยั่งยืน

@Principle/Concept
$TB: why different?
$TB treatment: why different?
$TB control: why and how?
$TB control: public health/treatment perspectives
$New smear-positive TB pts.: TOP PRIORITY
$First-line drugs: the most important, why not other regimens
$Responsibility for cure: the health system, not the patient
$The health system: why and how? (TB drug delivery)
$QC/QA: why and how?
$Standardization of TB diagnosis and treatment
$Smear: why not CXR?
$TB drugs: why combination?
$Recording and reporting: why?

@DOTS/DOT
The key to the success of the DOTS strategy is that it places the responsibility of caring for TB patients on health workers – not on patients.1
Directly observed treatment (DOT) is an important element in the internationally recommended policy package for TB control.2
1WHO (SEARO). Regional Strategic Plan on HIV/TB. 2003. Page 30.
2WHO. Treatment of Tuberculosis, Guidelines for National Programmes. 2003. Page 47.


@Principle/Concept
$DOT: why?
$DOT: the standard of care
$DOT: human right vs. community right
$DOT: patient-centered service
$DOT: to prevent rifampicin resistance
$Health personnel: why?
$VHV and others: why?
$Family member: why not?

@DOT Observer
crosstab below and types of DOT observers
Accountability/Accessibility/Acceptability/Sustainability/Patient Care/Predictability

@Principle/Concept
$Exclusive TB supervision and district DOTS meeting
$TB war room/TB coordinating center
$Effective diagnosis – passive case finding
$Nosocomial TB transmission


@TB indicators
INPUT=>PROCESS=>OUTPUT=>OUTCOME

HRD 

@Work shop is organized by
TFT of TBCTA : (Task Force Training of the Tuberculosis coalition for Technical Assistance)

@Finance Supported by

. The Global bureau for population
. Health and Nutrition
. US Agency for International Development (USAID)

@TBCTA - one partnership of 6 organizations interested and involved in TB control supported by USAID.
. American Lung Association (ALA)
. American Thoracic Society (ATS)
. Centers for Disease Control and Prevention (CDC)
. IUATLD
. Royal Netherlands Tuberculosis Association (KNCV)
. WHO

@The Purpose of the TFT:
to support NTP s, academic and medical institutions to strengthen the HRD in TB control to reach and maintain the overall program targets

@Agenda :

U1 : Introduction to the Workshop
U2 : The Planning Process
U3 : Country Presentation
U4 : Working documents
U5 : Organizational structure and overall direction of HRD for TB control with the NTP
U6 : HRD activities for TB control
U7 : Management and use of information for HRD for TB control
U8 : Strengthening the teaching of TB control in basic training of medical doctors, nurses, laboratory technicians and other categories of staff involved in TB
U9 : Management of the implementation , monitoring and evaluation of HRD activities in TB control
U10 : Development of the plan of activities

@HRD Plan Thailand 2003 - 2005

Activities When Responsibilities of

1.นำเสนอใน Taskforce
2.จัดตั้ง Working
Group of HRD
3. กำหนด TOR ของ
HRD team.
(=Term of Reference)
4. จัด Workshop x 2
เพื่อหาข้อสรุปใน
training need
5. Train HRD person
at National / regional
level

6. วิเคราะห์สถานการณ์ของ
HR ใน TB Control

7. จัดทำ training / Supervision
Plan

8. Implement training plan
9. กำหนด course
evaluation institutes

10. จัดทำ guideline for
course evaluation

11. Make inventory
of existing course
and HLM.

12 . Scaling Up of
appropriate contents
13. Develop training
course

14. Organize refresher
course for trainers.

15. Define items for
data collection on HRD

16. Discuss with medical
school the possibility
of set up TB clinic in
medical hospitals / curriculum


Ubon Meeting 1-2 April -Dr.Siprapa 

DrSriprapa1


@Comparison of treatment outcome in 2002 between registered cases and evaluated cases

@Comparison of No of districts and No of reported for treatment outcome report in 2002

@Comparison of estimated all types of TB cases in 2004 and case finding report in 2003

Ubon Meeting 1-2 April -Dr Chaivej 

Chaivej

@วัณโรคในประเทศไทยยังมีปัญหา
องค์การอนามัยโลกประมาณการสถานการณ์วัณโรคในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ว่า
$ประชากรไทย ติดเชื้อวัณโรคแล้ว ๒๕ ล้านคน
(ประมาณ ร้อยละ ๑๐ ผู้ติดเชื้อเหล่านี้จะป่วยเป็นโรคในเวลาต่อมา)
$ผู้ป่วยวัณโรคที่ยังต้องการรักษา(ทั้งรายใหม่และเก่า) ๑๘๐,๐๐๐ คนในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยเสมหะบวก ๘๐,๐๐๐คน
$ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ปีละ ๘๔,๐๐๐คน ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยเสมหะบวก ๓๗,๐๐๐คน
$ผู้ป่วยเสียชีวิตจากวัณโรคปีละ ๑๗,๐๐๐ คน

@วัณโรคใน ก.ท.ม. ก็ยังเป็นปัญหา
องค์การอนามัยโลกประมาณการสถานการณ์วัณโรคในก.ท.ม.ปี ๒๕๔๒ ดังนี้
$ประชากร(ลงทะเบียน+แฝง) ๑๐ ล้าน
$ผู้ป่วยรายใหม่รวม ๑๕,๐๐๐ คนต่อปี
$ผู้ป่วยรายใหม่ เสมหะบวก ๗,๐๐๐ ต่อปี รายงานจริง ๓,๖๐๐คน
$สำนักอนามัย มีส่วนรับผิดชอบ เพียง ๑,๕๐๐ คนต่อปี

@ความสำเร็จในการควบคุมวัณโรคโดยเกณฑ์สากล
$ประเทศที่มีอุบัติการณ์วัณโรคต่ำ (Low Incidence Country)
มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภท ต่ำกว่า ๑๐/๑๐๐,๐๐๐ ของประชากร ต่อปี (ปีละ ๖๐๐๐ ราย ในประเทศไทย)
$ประเทศที่ขจัดวัณโรคได้สำเร็จ (TB Elimination)
มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวก ต่ำกว่า ๑/๑,๐๐๐,๐๐๐ ของประชากรต่อปี (ปีละ ๖๐ ราย ในประเทศไทย)


@หลักการควบคุมวัณโรค
ทำลายแหล่งแพร่เชื้อให้หมดสิ้น โดยการ
-ค้นหาผู้ป่วย และ
-รักษาผู้ป่วยให้หายทุกราย
ถ้ามีผู้ป่วยเสมหะบวก ๑ ราย จะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เกิดขึ้น ปีละ ๑ ราย
ครึ่งหนึ่งของจำนวนผู้ป่วยวัณโรค จะเป็นผู้ป่วยเสมหะ บวก


@การเป็นเครือข่าย
$ทุกโรงพยาบาล
- มีคลินิกวัณโรค และ
- แต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบคลินิกวัณโรค เป็นผู้ประสานงานวัณโรค ระดับโรงพยาบาล
$ผู้ประสานงานวัณโรคของสำนักอนามัยและโรงพยาบาลต่างๆ
- ต้องรู้เรื่องตรงกัน (ทำให้ถูก)
- และคุ้นเคยกัน เพื่อ(ทำให้ได้)
- ส่งต่อผู้ป่วยให้ถึงมือ และติดตามผู้ป่วยจนจบ (ทำให้สำเร็จ)

@ความเข้าใจของผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญ
ต้องให้ผู้ป่วยเข้าใจและตระหนักเสมอว่า
$ระหว่างการรักษา ๖ เดือน เป็นช่วงสำคัญที่สุดในชีวิต
$ปรับกิจกรรมอื่นให้เอื้อต่อการรักษา
$กินยาไม่ครบ-โรคไม่หายขาด (โอกาสกลับเป็นอีกสูง)
$กินยาไม่สม่ำเสมอ- โรคไม่หายขาด และเกิดเชื้อต้านยา(โอกาสหายจะมีน้อยลง)


Ubon Meeting 1-2 April Dr.Daranee 

DrDaranee

@Issues of concern
1.Political commitment has not been successfully communicated to the peripheral levels
2.Decreased managerial capacity
3.Weakened financial basis of the NTP
4.Decreased performance of the NTP
5.Insufficient preparation for decentralized drug procurement

@Recommendations
1 Preservation of NTP performance during the transition phase of health service reform
2 Creation of a special MoPH project for TB control during the transition phase
3 Insurance of uninterrupted drug supply at all treatment facilities
4 Detailed analysis of reasons for low cure rates
5 Further development of the collaboration between the TB and HIV programs

@โครงการเร่งรัดพัฒนาศักยภาพ และมาตรฐานการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยวัณโรค

@วัตถุประสงค์ของโครงการ
$เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วย
$เพื่อเพิ่มอัตราเสมหะปราศจากเชื้อเมื่อสิ้นสุดระยะเข้มข้น
$เพื่อเพิ่มอัตราผลสำเร็จของการรักษา
$ลดอัตราขาดการรักษา


@กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการตรวจรักษา จำนวน 72,000 ราย

@เป้าหมายการดำเนินงานของโครงการ
$เร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยในชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่คาดว่าจะมีอยู่ในชุมชน
$เพิ่มอัตราเสมหะปราศจากเชื้อเมื่อสิ้นสุดระยะเข้มข้นมากกว่า ร้อยละ 85
$เพิ่มอัตราผลสำเร็จของการรักษามากกว่า ร้อยละ 85
$ลดอัตราการขาดการรักษาไม่เกินร้อยละ 5

@worksheet for 48

This page is powered by Blogger. Isn't yours?